มูลนิธิกองทุนพัฒนาระบบตลาดทุน

อาคารเลค รัชดา ออฟฟิศ คอมเพล็กซ์ 2

650 ม. จาก BTS อโศก/MRT สุขุมวิท
900 ม. จาก MRT ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
136,185
มูลนิธิกองทุนพัฒนาระบบตลาดทุน

อาคารเลค รัชดา ออฟฟิศ คอมเพล็กซ์ 2


ตั้งอยู่เลขที่ 195/14 อาคารเลครัชดา ออฟฟิสคอมเพล็กซ์ 2 ถ.รัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กทม. 10110 (ใกล้ BTS อโศก อยู่ตรงข้ามสวนเบญจกิติ)

ข้อมูลอื่นๆ

1.ค่าน้ำระบายความร้อนแอร์ 1.653 บาท/หน่วย/ตัน , ค่าน้ำปะปา 20 บาท/หน่วย, ค่าน้ำระบายความร้อน ราคา 1.653 บาท/หน่วย/ตัน ขึ้นอยู่กับการใช้มาก-ใช้น้อย ตัวอย่าง ชั้นเดียวขนาดแอร์ 20 ตัน ถ้าเปิดวันจันทร์-ศุกร์ ในช่วงเวลา 08:00-17:00 น. มิเตอร์จะวิ่งประมาณ 150 หน่วย
วิธีคิด 1.653บาทx150หน่วยx20ตัน =4,959 บ. เป็นค่าน้ำระบายความร้อน จ่ายให้กับนิติบุคคล
หมายเหตุ ระบบน้ำระบายความร้อนเปิดได้ตั้งแต่ จันทร์-เสาร์ เวลา 07:00-20:00น. และทำหนังสือแจ้งนิติบุคคลขอขยายเวลาเปิดแอร์ได้ถึง22:00น.โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม นอกเหนือจากวันและเวลาดังกล่าวหรือเป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต้องทำหนังสือแจ้งนิติบุคคลขอใช้แอร์โดยเสียค่าบริการชั่วโมงละ 200 บาทตั้งแต่เปิดใช้แอร์

2. ค่าไฟฟ้าจ่ายกับการไฟฟ้าโดยตรง
ค่าไฟฟ้าขึ้นอยู่ปริมาณการใช้ไฟฟ้า /จำนวนการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าในสำนักงาน จ่ายตามอัตราการไฟฟ้านครหลวง (ประเภทไฟฟ้า2.1.2)

3.ค่าเช่าที่จอดรถยนต์ ชั่วโมงละ 30 บาท มีตราประทับบริษัท จอดฟรี 1 ชม.
ค่าเช่าที่จอดรถจักรยานยนต์ ชม.ละ 10 บาทมีตราประทับ ทำบัตรสมาชิกเดือนละ 500 บาท
หมายเหตุ
- ที่จอดรถ คำนวณจากพื้นที่เช่า 100 ตร.ม. ต่อ 1 คัน
- เงินมัดจำบัตรจอดรถ(บัตรคีย์การ์ด) 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) ต่อใบ

4.คู่สายโทรศัพท์ใหม่ ชำระค่าคู่สายให้กับนิติบุคคล คู่สายละ 6,000 บาท

5.มีบริการเช่า Internet fiber จาก บ. UIH ซึ่งเป็น Corporate Internet ไม่ใช่เน็ตบ้าน
Fiber Optic อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง แรงเร็วไม่มีสะดุด ช่วยให้องค์กรสามารถ รับ-ส่ง ข้อมูลกันได้อย่างไม่จำกัดปริมาณข้อมูล และไม่สะดุดด้วยการส่งสัญญาณจากสาย Fiber Optic ที่มีความเสถียร และรวดเร็วกว่าใครผ่านช่องทางที่ดีที่สุด รองรับแบนด์วิธเติบโตระดับเทราบิตในภูมิภาค สูงสุดด้วย 1 เทราบิตต่อวินาที (Tbps) ด้วยการอัพเกรดโครงข่ายสื่อสาร Backbone (โครงข่ายหลัก) รับส่งข้อมูลด้วยแบนด์วิธระดับเทราบิตต่อวินาที (Terabit per second) และสามารถรองรับได้ถึง 8 Tbps เชื่อมต่อข้อมูลระหว่างชายแดนไทยทั่วประเทศกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งได้เพิ่มสายไฟเบอร์ออฟติกหลักเส้นที่ 3 ตามแนวทางรถไฟระยะทาง 2,500 กิโลเมตร เพื่อสร้างความเสถียรของโครงข่าย และเตรียมรับมือกับปริมาณการใช้แบนด์วิธระหว่างประเทศที่มีแนวโน้มสูงขึ้น

MAP

แผนที่